ประวัติ ไพ่

วันนี้แอดมินจะพาไปดูประวัติของเกมหนึ่งนั้นก็คือ ประวัติ ไพ่

ประวัติ ไพ่ ก่อนที่จะเป็นการพนันยอดฮิตในตอนนนี้จุดกำเนิดมาจากที่ไหนไปชมกันเลยมีใครรู้บ้างกว่าที่จะกลายมาเป็น “ไพ่”ที่เรารู้กจักในปัจจุบันที่

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *

ประวัติ ไพ่

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *

ประวิติความเป็นมา
มีคนผู้กันว่าต้นกำเนิดเกมพนันนี้อยู่แถบๆเอเชียไม่ไกลจากประเทศเรามากนักนั้นก็คือแถบ ประเทศจีน อินเดีย แล้วได้เผยแพร่ผ่านเส้นทางค้าขายในสมัยก่อนแล้วได้ขยายมาไกลจนถึงประเทศยุโรปแล้วได้ทำสัญญาลักหลักของ “ไพ่”ในสวิตเซอร์แลนด์ในปี 1377หลังจากนั้นก็ได้รู้จักเกมนี้กันทั่วเมืองรวมไปถึงท่าเรือต่างๆที่อยู่ระแวดนั้นๆด้วย

แล้วมีหลักฐานที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้นก็คือมีการออกกฎหมายห้ามเล่นเกมพนันนี้ในคริสตศตวรรษที่ 14ที่ออกข้อห้ามมานั้นเพราะชาวบ้านชาวเมืองชาวยุโรปได้ติดการพนันจนทำให้เกิดการทะเลาะกันแล้วฆ่าฟันกันขึ้นเลยออกคำสั่งมาแล้วทำให้เรารู้ว่าเกมพนันนี้เขามาตั้งแต่ยุคใหน

วิวัฒนาการ และ ดีไซน์
เกมพนันจะถูกประยุกต์ให้เข้ากับสังคมและช่วงเวลาในตอนนั้นเช่นเป็นคนที่อยู่แถวนั้นและสังคมให้ความสำคัญเช่น

1.ชาวอิตาเลียน
เขาจะนำเอาถ้วยและจอกเป็นสัญลักษณ์ของเมือง ดาบ คือ กองทัพ เหรียญ คือตัวแทนของพ่อค้า ส่วนชาวนาถูกแทนค่าด้วยลูกโอ๊ต

2.ชาวเยอรมัน
ในยุคสมัยเดียวกับชาวอิตาเลียนแต่ชาวเยอรมันเขาใช้ ระฆัง แทนสัญลักษณ์คนใหญ่คนโต คริสตจักร แทนสัญลักษณ์ด้วยหัวใจ ใบไม้แทนสัญลักษณ์เหมือนกับคนชั้นล่าง แล้วชาวนาก็ยังคงลูกแต่เปรียบเป็นลูกโอ๊ตเหมือนเดิม

3.ชาวฝรั่งเศส
ได้ใช้ จอกแทน ความเป็นขุนนาง หัวใจ ยังคงมอบให้กับคริสตจักร กระบองแทนพวกกลุ่มชาวนา แล้วก็เพรช คือ สัญลักษณ์แทน ความร่ำรวย ซึ่งจะเห็นว่านอกจากจะแตกต่างกันในทางศิลปะของลวดลายบนไพ่แล้ว ยังมีเรื่องของจำนวนไพ่อีกต่างหากที่ต่างกัน ในอิตาลี ไพ่ 1 สำรับมี 56 ใบ เพราะไพ่ขอบ “Court card” จะมี คิง ควีน ไนท์ และ เนฟ

แล้วก็ได้เปลี่ยนแปลงไปถามการเวลาจนทำให้เกิดเป็นสัญลักษณ์ในปัจจุบันที่เราเห็นกันเหมือนทุกวันสำหรับผู้ที่สนใจแล้วอยากเล่นเกมนี้เข้ามาที่นี่เลยครับ GCLUB CASINO

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *